Category Archives: แขวงบางซื่อ

แขวงบางซื่อ

แขวงบางซื่อ เป็นแขวงหนึ่งใน 2 แขวง ใน เขตบางซื่อ เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา

LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

เขตบางซื่อตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ประวัติ[แก้]

อำเภอบางซื่อ ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นอำเภอชั้นนอกอำเภอหนึ่งในมณฑลกรุงเทพ โดยขึ้นตรงต่อกระทรวงนครบาลเมื่อ พ.ศ. 2437[2] ซึ่งเป็นปีที่เริ่มมีการปฏิรูปการปกครองเป็นแบบมณฑลเทศาภิบาลในช่วงกลางรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ในช่วงที่มีอาณาเขตกว้างขวางที่สุดนั้น อำเภอบางซื่อแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 14 ตำบล ได้แก่ ตำบลบางพลัด ตำบลบางอ้อ ตำบลบางโพ ตำบลบางกระบือ ตำบลถนนนครไชยศรี ตำบลสามเสนใน ตำบลสามเสนนอก ตำบลลาดยาว ตำบลสี่แยกบางซื่อ ตำบลบางซื่อใต้ ตำบลบางซื่อเหนือ ตำบลบางซ่อน ตำบลบางเขนใต้ และตำบลบางเขน[3] (ครอบคลุมไปถึงพื้นที่บางส่วนของเขตบางพลัด เขตดุสิต เขตพญาไท เขตราชเทวี เขตดินแดง เขตห้วยขวาง เขตจตุจักร และอำเภอเมืองนนทบุรีในปัจจุบัน)[4]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้ลงนามในประกาศจัดตั้งแขวงวงศ์สว่างแยกจากพื้นที่แขวงบางซื่อโดยใช้ทางรถไฟสายใต้เป็นเส้นแบ่งเขตและให้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 21 กันยายน ปีเดียวกัน[11] ส่งผลให้ในปัจจุบัน เขตบางซื่อแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง ได้แก่

หมาย
เลข
อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2565)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2565)
แผนที่
1.
บางซื่อ Bang Sue
5.762
77,698
13,484.55
แผนที่
2.
วงศ์สว่าง Wong Sawang
5.783
41,733
7,216.50
ทั้งหมด
11.545
119,431
10,344.83

ประชากร[แก้]

การคมนาคม[แก้]

ถนนประชาราษฎร์ สาย 2 บริเวณแยกประชาชื่น

ทางสายหลัก[แก้]

สายรองและทางลัด[แก้]

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ขณะวิ่งผ่านบนถนนประชาราษฎร์ สาย 2 ก่อนเข้าสู่สถานีบางโพ

เขตบางซื่อมีสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา 2 แห่ง ได้แก่

ระบบขนส่งมวลชน[แก้]

Call Now Button