Category Archives: ถนนแปลงนาม

ถนนแปลงนาม

ถนนแปลงนาม is position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by address the administration region name in category.

ถนนแปลงนาม  เป็นถนนสายหลักเส้นหนึ่งใน เขตสัมพันธวงศ์

เขต สัมพันธวงศ์
กรุงเทพมหานคร
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตสัมพันธวงศ์
Cquote1.png องค์พระปฏิมาทองคำ ไตรมิตรสถิตธรรมแจ่มใส ซุ้มประตูวัฒนธรรมร่วมใจ จีนไทยสืบสัมพันธ์มั่นคง เป็นแหล่งอาหารเลิศรส ร้านทองชื่อปรากฏกล่าวขาน ตลาดเก่าเยาวราชมีมานาน ไทยจีนร่วมสนานสัมพันธวงศ์ Cquote2.png
ข้อมูลทั่วไป
อักษรไทย เขตสัมพันธวงศ์
อักษรโรมัน Khet Samphanthawong
รหัสทางภูมิศาสตร์ 1013
รหัสไปรษณีย์ 10100
ข้อมูลสถิติ
พื้นที่ 1.416 ตร.กม.
ประชากร 24,150 [1] คน (พ.ศ. 2560)
ความหนาแน่น 17,055.08 คน/ตร.กม.
สำนักงานเขต
ที่ตั้ง เลขที่ 37 ถนนโยธา แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100
พิกัด 13°43′53″N 100°30′51″E
หมายเลขโทรศัพท์ 0 2237 3345
หมายเลขโทรสาร 0 2237 4541
เว็บไซต์ เว็บไซต์สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

เขต สัมพันธวงศ์ เป็นเขตที่เล็กที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้าหนาแน่นและแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้] เขต สัมพันธวงศ์

ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ประวัติศาสตร์[แก้] เขต สัมพันธวงศ์

เขตนี้เป็นสถานที่ที่มีชาวจีนอาศัยอยู่มาตั้งแต่ตอนแรกเริ่มกรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พวกเขาได้ย้ายมาจากเขตพระนครในปัจจุบัน โดยมีถนนวานิช 1 หรือ “ถนนสำเพ็ง” เป็นศูนย์กลางของชุมชนชาวจีน จวบจนสร้างถนนเยาวราชในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อปี พ.ศ. 2435 ได้กลายมาเป็นศูนย์กลางชาวจีนจนถึงปัจจุบัน

อำเภอสัมพันธวงศ์ สร้างที่ว่าการอำเภอขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2475 ตั้งอยู่ที่สามแยกถนนทรงวาดตัดกับถนนปทุมคงคา ตำบลศาลเจ้าแม่ทับทิม ซึ่งอยู่ในเขตวัดสัมพันธวงศาราม จึงสันนิษฐานได้ว่าอำเภอสัมพันธวงศ์คงตั้งชื่อตามวัดที่ตั้งนั่นเอง (ปัจจุบันสำนักงานเขตย้ายไปตั้งที่ถนนโยธา แขวงตลาดน้อย) โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 14 ตำบล

ต่อมาได้มีการยุบรวม “อำเภอสามแยก” ซึ่งตั้งที่ว่าการอำเภออยู่ที่ตึกแถวสี่แยกถนนทรงวาดกับถนนเยาวราช มีเขตปกครอง 6 ตำบล และ “อำเภอจักรวรรดิ” ซึ่งตั้งที่ว่าการอำเภออยู่ข้างสถานีตำรวจนครบาลจักรวรรดิ มีเขตปกครอง 18 ตำบล มาขึ้นกับอำเภอสัมพันธวงศ์ แล้วแบ่งเขตปกครองใหม่ออกเป็น 3 ตำบล คือ ตำบลสัมพันธวงศ์ ตำบลจักรวรรดิ และตำบลตลาดน้อย

ต่อมาในปี พ.ศ. 2515 มีประกาศคณะปฏิวัติจัดการบริหารราชการใหม่ในเขตนครหลวง อำเภอสัมพันธวงศ์ได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร แบ่งเขตปกครองย่อยออกเป็น 3 แขวง

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้] เขต สัมพันธวงศ์

เขตสัมพันธวงศ์แบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 3 แขวง (khwaeng) ได้แก่

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2560)
จำนวนบ้าน
(พฤษภาคม 2560)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2560)
จักรวรรดิ Chakkrawat
0.484
7,529
5,036
15,555.78
สัมพันธวงศ์ Samphanthawong
0.483
8,890
4,449
18,405.79
ตลาดน้อย Talat Noi
0.449
7,731
3,752
17,218.26
ทั้งหมด
1.416
24,150
13,237
17,055.08

ประชากร[แก้]

การคมนาคม[แก้]

ทางสายสำคัญในเขตสัมพันธวงศ์ ได้แก่

สถานที่สำคัญ[แก้]

ถนนเยาวราช[แก้]

ดูบทความหลักที่: ถนนเยาวราช

ถนนเยาวราช มีความยาวประมาณ 1.5 กิโลเมตร โดยเกือบตลอดถนนทั้งสายจะเต็มไปด้วยร้านขายทองและร้านอาหาร และเป็นชุมชนคนไทยเชื้อสายจีนอาศัยมากที่สุดในประเทศไทย

ในปัจจุบันมีประตูซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของไชนาทาวน์อยู่ ซึ่งได้สร้างเนื่องในพระราชวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงฉลองพระชนมายุครบ 6 รอบ ตั้งอยู่กลางวงเวียนโอเดียนสุดถนนเยาวราช

วัดและศาลเจ้า[แก้]

วัดและศาลเจ้าที่สำคัญ ได้แก่

สถานที่สำคัญอื่น ๆ[แก้]

เทศกาล[แก้]

ในช่วงเทศกาล ถนนเยาวราชจะปิดทั้งสาย

อ้างอิง[แก้]

  1. กระโดดขึ้น สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย,กองปกครองและทะเบียน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร. สถิติประชากรและบ้าน – จำนวนประชากรแยกรายอายุ [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/. สืบค้น 5 มกราคม 2561.
  2. กระโดดขึ้น สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. “จำนวนประชากรและบ้าน.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html 2556. สืบค้น 3 เมษายน 2556.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

Call Now Button